[กลับหน้าหลัก ความรู้ในงาน HR] ค้นหางาน ตำแหน่งงาน: กลุ่มงาน : ตำแหน่งงาน - แยกตามกลุ่มงาน งานเกษตร ประมง/งานปศุสัตว์/งานเหมืองแร่ งานบุคคล/งานฝึกอบรม/งานสรรหา/งานค่าจ้าง งานการตลาด/งานขาย ส่งเสริมการขาย/ Sale งานโรงแรม ท่องเที่ยว/งานอาหาร เครื่องดื่ม งานกฎหมาย นิติกร/งานปกครอง รัฐศาสตร์ งานราชการ/พนักงานราชการ/งานครู อาจารย์ งานช่างก่อสร้าง/ช่างสำรวจ/งานโยธา-รังวัด งานเทคนิคอุตสาหกรรม/งานซ่อมบำรุง งานช่างกล ช่างโลหะ/งานช่างเครื่อง ช่างยนต์ งานช่างอิเลคโทรนิค ช่างไฟฟ้า/ช่างคอมพิวเตอร์ งานเขียนแบบ/งานDrawing /งานDraftsman งานโรงงาน/งานการผลิต/งานควบคุมคุณภาพ งานประเมินราคา/งานเร่งรัดหนี้สิน/งานเก็บบิล งานบันเทิง นิเทศศาสตร์/งานโฆษณา Creative งานนำเข้า-ส่งออก Shipping/ฝ่ายต่างประเทศ/BOI งานส่งเอกสาร ส่งผลิตภัณฑ์/งานขับรถ/งานแม่บ้าน งานสำนักงาน/งานพัฒนาองค์กร/งานISO/งานเอกสาร งานบัญชี/งานการเงิน การธนาคาร/ตรวจสอบภายใน งานIT คอมพิวเตอร์/งานโปรแกรมเมอร์/งานเว็บไซต์ งานแพทย์/งานพยาบาล/งานเภสัชกร/งานสาธารณสุข งานประสานงาน/งานOrganizer/งานEvent/MC งานเลขา/งานประชาสัมพันธ์ บริการลูกค้า/งานธุรการ งานวิทยาศาสตร์/งานฟิสิกส์ เคมี สิ่งแวดล้อม งานดีไซน์เนอร์ เสื้อผ้า/ช่างเย็บ ปัก/ช่างแพทเทิร์น งานวิจัย/งานวิเคราะห์ วิศวกรรมการเกษตร/การชลประทาน วิศวกรรมคอมพิวเตอร์/วิศวกรรมระบบ วิศวกรรมไฟฟ้า/อิเลคโทรนิค/สื่อสาร/โทรคมนาคม วิศวกรรมโยธา สำรวจ วิศวกรรมเคมี/วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม/สุขาภิบาล วิศวกรรมอุตสาหการ/วิศวกรรมเครื่องกล โรงงาน/อื่นๆ งานผู้บริหาร/งานผู้จัดการ/งานผู้อำนวยการ/งานบริหาร จป.วิชาชีพ/เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย/งานอาชีวอนามัย งานจัดซื้อ/งานสโตร์/งานคลังสินค้า/งานLogistics งานศิลปกรรมศาสตร์/งานกราฟฟิค ดีไซน์/ช่างศิลป์ งานเศรษฐศาสตร์/งานคณิตศาสตร์/งานสถิติ งานสถาปัตยกรรมศาสตร์/งานออกแบบ ตกแต่งภายใน งานอักษรศาสตร์ มนุษย์ศาสตร์/ล่าม/แปลภาษา/ไกด์ งาน อื่นๆ ประเภท : ประเภทธุรกิจ - ทั้งหมด ไม่ระบุ งานราชการ / งานรัฐวิสาหกิจ คอมพิวเตอร์ /ไอที / IT อุตสาหกรรมสิ่งทอ/ เสื้อผ้า อุตสาหกรรมแก้ว/ เซรามิก อัญมณี / เครื่องประดับ โทรคมนาคม / สื่อสาร เฟอร์นิเจอร์ - ของแต่งบ้าน นำเข้า-ส่งออก / คมนาคมขนส่ง โรงแรม-รีสอร์ท/ ท่องเที่ยว ทัวร์ โรงงานอุตสาหกรรม / นิคม โรงพยาบาล/ สุขภาพ การศึกษา ค้าขายปลีก / ค้าขายส่ง ผลิต / ตัวแทนจำหน่าย จัดหางาน/ ที่ปรึกษา/ ฝึกอบรม รับเหมา - ก่อสร้าง/ วิศวกรรม การเงิน / การธนาคาร การพิมพ์ / สิ่งพิมพ์ บริการ/ บันเทิง อิเล็กทรอนิกส์ ประกันภัย-ชีวิต พลังงาน/ ปิโตรเคมีภัณฑ์ ภัตตาคาร / ร้านอาหาร ยานยนต์ / อะไหล่ การตลาด / โฆษณา ประชาสัมพันธ์ อสังหาริมทรัพย์ ออกแบบตกแต่ง/ สถาปัตยกรรม สินค้าอุปโภค / บริโภค อุปกรณ์เครื่องใช้สำนักงาน กฎหมาย / ที่ปรึกษาทางธุรกิจ ภาค: ภาค - รวมทั้งหมด กรุงเทพฯและปริมณฑล ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคตะวันออก ภาคใต้ ค้น: สมัครสมาชิกไปยัง กลุ่มบริหารทรัพยากรมนุษย์ ประเทศไทย อีเมล์: ดูเอกสารที่เก็บรวบรวมไว้ ที่ groups.google.co.th ร่วมสนทนาแลกเปลี่ยนความรู้ เอกสาร และประสบการณ์ทำงาน ไม่จำกัดสาขาอาชีพ มาตรา ๑๑๙(๑) การไม่จ่ายค่าชดเชยให้แก่ลูกจ้างซึ่งเลิกจ้างในกรณี "ฝ่าฝืนข้อบังคับฯ" มาตรา ๑๑๙(๑) การไม่จ่ายค่าชดเชยให้แก่ลูกจ้างซึ่งเลิกจ้างในกรณี "ฝ่าฝืนข้อบังคับฯ" | บริหารทรัพยากรมนุษย์ โดย SIAMHRM.COM :- ข้อมูลเกี่ยวกับ มาตรา ๑๑๙(๑) การไม่จ่ายค่าชดเชยให้แก่ลูกจ้างซึ่งเลิกจ้างในกรณี "ฝ่าฝืนข้อบังคับฯ", บทความ มาตรา ๑๑๙(๑) การไม่จ่ายค่าชดเชยให้แก่ลูกจ้างซึ่งเลิกจ้างในกรณี "ฝ่าฝืนข้อบังคับฯ", ตัวอย่าง มาตรา ๑๑๙(๑) การไม่จ่ายค่าชดเชยให้แก่ลูกจ้างซึ่งเลิกจ้างในกรณี "ฝ่าฝืนข้อบังคับฯ", HR, HRM คำพิพากษาฎีกาที่ ๒๑๗๑/๒๕๔๒ เมื่อลูกจ้างกระทำผิดวินัยเกี่ยวกับการทำงาน นายจ้างย่อมมีอำนาจออกหนังสือตักเตือน และมีอำนาจนำหนังสือตักเตือนไปประกาศให้ลูกจ้างผู้กระทำผิดวินัย และลูกจ้างอื่นทราบได้ การที่ลูกจ้างผู้กระทำผิดวินัย ไปฉีกทำลายประกาศหนังสือตักเตือนของนายจ้าง โดยพลการ ทำให้ทรัพย์สินคือหนังสือตักเตือนของนายจ้างต้องสูญหาย และขาดประโยชน์ และอาจทำให้ลูกจ้างอื่นเอาอย่าง ทำให้นายจ้างไม่สามารถปกครองบังคับบัญชาลูกจ้างได้ การกระทำของลูกจ้างดังกล่าว จึงเป็นการกระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง คำพิพากษาฎีกาที่ ๓๘๓๑/๒๕๔๒ การที่ลูกจ้างให้คำปรึกษากับหนังสือพิมพ์ฉบับอื่น ซึ่งเป็นคู่แข่งกับหนังสือพิมพ์ของนายจ้าง กรณีถือได้ว่าลูกจ้างได้แสวงหาผลประโยชน์ส่วนตัว จากหน้าที่การงานที่ลูกจ้างทำกับนายจ้าง โดยทำงานให้แก่ธุรกิจที่แข่งขันกับนายจ้าง ทำให้นายจ้างได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรง เป็นกรณีที่ถือว่าลูกจ้างฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับ เกี่ยวกับทำงานของนายจ้างเป็นกรณีที่ร้ายแรง คำพิพากษาฎีกาที่ ๕๖๐๙/๒๕๔๒ การที่ลูกจ้างมีชู้กับพนักงานช่างประจำโรงแรมของนายจ้าง แม้จะไม่ปรากฏว่าเกิดขึ้นภายในบริเวณโรงแรม หรือในเวลาทำงาน ก็ถือได้ว่าเป็นการไม่รักษาเกียรติ และประพฤติชั่ว ซึ่งเป็นการละเมิดต่อศีลธรรมอันดีอย่างร้ายแรง จนเป็นเหตุให้ครอบครัวผู้อื่นแตกแยก และเป็นที่รู้กันทั่วในหมู่พนักงานโรงแรมของนายจ้าง การกระทำของลูกจ้าง และชายชู้ย่อมส่งผลกระทบโดยตรง ต่อการปกครองบังคับบัญชาพนักงานโรงแรมของนายจ้าง รวมทั้งชื่อเสียงของโรงแรมนายจ้างด้วย เนื่องจากลูกจ้างมีตำแหน่งฝ่ายบริหาร เป็นถึงผู้จัดการแผนกต้อนรับ แต่กลับประพฤติชั่วเป็นตัวอย่างที่ไม่ดี แก่พนักงานอื่น ๆ การกระทำของลูกจ้างเป็นการฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับ เกี่ยวกับการทำงานของนายจ้างเป็นกรณีร้ายแรง จำนวนผู้ชม 1798 ครั้ง ข้อมูลในหมวดหมู่เดียวกัน ประมาทเลินเล่อทำให้ทรัพย์สินเสียหาย บทกำหนดโทษตาม พ.ร.บ. การสละสิทธิในการหยุดพักผ่อนประจำปี ปัญหาของ การกำหนดคำนิยามของคำว่า "ค่าจ้าง" และ "ค่าแรง" การระบุเหตุผลในหนังสือบอกเลิกจ้าง